วันอาทิตย์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2556

วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

โครงสร้างโปรแกรมภาษา


โครงสร้างโปรแกรมภาษา  Pascal
          1. ส่วนหัว (Heading) เป็นการประกาศชื่อของโปรแกรม ขึ้นต้นด้วยคำว่า PROGRAM ตามด้วยชื่อ       ของโปรแกรม และจบบรรทัดด้วย;
          2. ส่วนข้อกำหนด (Declaration part) คือส่วนตั้งแต่ส่วนหัวไปจนถึงคำว่า BEGIN ของโปรแกรมหลัก และเป็นส่วนที่เรากำหนดค่าต่าง ๆ
          VAR รายชื่อตัวแปร: ประเภทของข้อมูล;
          VAR I,J,K : INTEGER;
          NAME : STRING;
          SALARY : REAL;
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
          1. ส่วนหัวของโปรแกรมเรียกว่า Preprocessing Directive คำสั่ง #include <stdio.h> 
          2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก คือ ฟังก์ชั่น main () ฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่                 เครื่องหมาย }
          คอมเมนต์ในภาษาซี
                คอมเมนต์ (Comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่       ข้อความอธิบายกำกับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอม    เมนต์นี้
                    // Comment only one line
          #include <stdio.h>
          #include <conio.h>
          main void()
          {
          clrscr();
          /*comment
          many
          line*/
          }
โครงสร้างโปรแกรมภาษา Basic
  ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) และภาษาระดับสูง (High Level Language) ภาษา Basic นั้นเป็นโปรแกรมที่เป็นพื้นฐานสำหรับหัดเขียนโปรแกรมก็ว่าได้ เนื่องจากเป็นภาษาที่เป็นคำพูดของคนเราทั่วไป เช่น ดังนี้
  การใช้คำสั่ง Print
                    PRINT "Hello World!"
โครงสร้างโปรแกรมภาษา Assembly
            ภาษาแอสแซมบลี้ เป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ในการสื่อความหมาย ภาษาแอสแซมบลีมีลักษณะคำสั่งที่ขึ้นกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานและมีการแปลคำสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง นอกจากภาษาเครื่อง และภาษาแอสแซมบลีแล้ว ยังมีภาษาระดับสูง 
            stseg  segment para stack

         db 64 dup('0');

sttop  label word

stseg  ends



dtseg segment

; ----สำหรับกำหนดตัวแปร----

dtseg ends



cdseg segment

main  proc far

         assume cs:cdseg,es:dtseg,ds:dtseg,ss:stseg

         mov ax,dtseg

         mov ds,ax

 

         mov ax,stseg

         mov ss,ax

         lea   sp,sttop

 

; /*--------- ใส่ Code Program---------*/

 

        mov ah,4ch

        int    21h



main   endp

cdseg  ends

          end main
โครงสร้างโปรแกรมภาษา Java
            โครงสร้างโปรแกรมภาษาจาวา 



public class ชื่อคลาส

{

      public static void main(String[] agrs)

     {

          ประโยคคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรม;

          ..................................................;

     }

}



ตัวอย่างโปรแกรมภาษาจาวา

ไฟล์ Example.java

class Example

{

     public static void main(String[] args)

    {

          String dataname = “Java Language“;

          System.out.println(“My name is OAK“);

          System.out.println(“OAK is a “ + dataname +“. “);

     }

}
            


โครงสร้างโปรแกรมภาษา Cobol
     working-storage section.
01 s   pic 99.
procedure division.
accept s.
if s > 50  display "pass".
if s <= 50 display "fail".
stop run.

working-storage section.
01 s   pic 99.
procedure division.
accept s.
if s > 50 
  display "pass"
else
  display "fail".
stop run.


นางสาววิไล ใจเอื้อ รหัส 020 ปวส.1/1 คอมพิวเตอร์การฟิก

วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ระบบเลขฐาน

1. ตารางเลขฐาน

เลขฐานสิบ
เลขฐานสอง
เลขฐานแปด
เลขฐานสิบหก
0
0000
0
0
1
0001
1
1
2
0010
2
2
3
0011
3
3
4
0100
4
4
5
0101
5
5
6
0110
6
6
7
0111
7
7
8
1000
10
8
9
1001
11
9
10
1010
12
A
11
1011
13
B
12
1100
14
C
13
1101
15
D
14
1110
16
E
15
1111
17
F
            2.เลขฐานอื่นๆ เป็นฐานสิบ
1111001012 =  48510
2FBC16  = 1222010
2868 = 19810
3.   เลขฐาน 10 เป็นฐานอื่นๆ
20 = 101002
20 = 248
20 = 1416